泰國篇

123

คำถามและคำตอบเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ของผู้อยู่อาศัยใหม่

1. 何謂繼承權?登記實務上,繼承從哪一天開始?
สิทธิ์ในการรับมรดกคืออะไร? เมื่อแจ้งจดทะเบียนแล้ว สิทธิ์ในมรดกนั้นเริ่มต้นนับจากวันไหน?
因被繼承人死亡,而發生之繼承權利。所以在登記實務上,「繼承開始之日」就是被繼承人死亡之日。
สิทธิในการรับมรดกนั้นเกิดขึ้นเนื่องจากเจ้าของมรดกเสียชีวิต ดังนั้นเมื่อแจ้งจดทะเบียน “วันที่เริ่มต้นมีสิทธิ์ในมรดก” คือวันที่เจ้าของมรดกเสียชีวิต

2. 如果配偶死亡,外籍配偶有不動產繼承權嗎?尚未取得國籍有關係嗎?
หากคู่สมรสเสียชีวิต คู่สมรสที่เป็นชาวต่างชาติมีสิทธิ์รับมรดกอสังหาริมทรัพย์ได้หรื อไม่? มีส่วนเกี่ยวข้องกับการที่ไม่มีสัญชาติไต้หวั นหรือไม่?
根據中華民國民法,外籍配偶和國人配偶一樣擁有繼承包括動產與不動產的權利。如果配偶不幸死亡,必須依法辦理財產的繼承,同時依法申報遺產稅。但繼承不動產時,必須外籍配偶之原屬國與本國間有平等互惠的關係,才能繼承不動產,繼承登記應自國人死亡6 個月內向土地所在地之地政事務所提出申請,超過1 個月處應納登記費1 倍之罰鍰。
ตามกฏหมายประเทศไต้หวัน คู่สมรสชาวต่างชาติมีสิทธิ์ในการรับมรดกทั้งสังหาริมทรัพย์และอสังหาริ มทรัพย์ได้เท่าเทียมกับคู่สมรสที่เป็นคนไต้หวัน หากโชคร้ายคู่สมรสเสียชีวิต จะต้องดำเนินการรับมรดกตามที่กฎหมายกำหนด ในขณะเดียวกันก็ต้องยื่นคำขอร้องชำระภาษีมรดกตามกฎหมายด้วย แต่เมื่อรับมรดกที่เป็นอสังหาริมทรัพย์นั้น จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับหลักปฏิบัติต่างตอบแทนอย่างเสมอภาคระหว่าง ประเทศของคู่สมรสชาวต่างชาติและไต้หวัน ถึงจะสามารถรับมรดกอสังหาริมทรัพย์นั้นได้ การจดทะเบียนรับมรดกต้องไปยื่นเรื่องดำเนินการที่สำนักงานที่ดินในเข ตพื้นที่ที่ที่ดินนั้นตั้งอยู่ภายใน 6 เดือนนับจากวันที่เจ้าของมรดกเสียชีวิต หากแจ้งจดทะเบียนล่าช้าจะต้องเสียค่าปรับเป็นเงินเท่ากับค่าจดทะเบียน หนึ่งเท่าต่อการแจ้งจดทะเบียนล่าช้าหนึ่งเดือน
依中華民國涉外民事法律適用法第58 條:
繼承,依被繼承人死亡時之本國法。但依中華民國法律中華民國國民應為繼承人者,得就其在中華民國之遺產繼承之。
ตามบัญญัติกฎหมายการใช้งานกฎหมายแพ่งระหว่างประเทศ มาตรา 58 ของไต้หวัน:
การรับมรดก ให้เป็นไปตามข้อบัญญัติของกฎหมายไต้หวันที่ใช้อยู่ขณะที่เจ้าของมร ดกเสียชีวิต แต่หากพลเมืองไต้หวันตามที่กฎหมายไต้หวันกำหนดเป็นผู้รับมรดก ให้ผู้นั้นได้รับมรดกที่อยู่ในไต้หวัน
所以配偶雖尚未取得中華民國之國籍,但被繼承人為中華民國之國籍,依該法律條文之述,當以中華民國之民法規定辦理。
ดังนั้นคู่สมรสแม้ว่าจะยังไม่ได้เข้าถือสัญชาติไต้หวัน แต่เจ้าของมรดกเป็นบุคคลที่มีสัญชาติไต้หวัน ตามข้อบัญญัติของกฎหมายนั้น ให้ดำเนินการตามที่กฎหมายแพ่งของไต้หวันบัญญัติไว้
 

3. 外籍配偶與子女或其他人同為繼承人時,其繼承權如何計算?
เมื่อทายาทที่รับมรดกเป็นคู่สมรสชาวต่างชาติและบุตรหรือรับม รดกร่วมกับบุคคลอื่น สิทธิ์ในการรับมรดกควรคิดคำนวณอย่างไร?
民法規定的繼承順序
ลำดับทายาทตามที่กฎหมายแพ่งกำหนด
第一順位 直系血親卑親屬(如子女,孫子女,以親等近者為優先)。
ทายาทอันดับที่ 1 บุตรหลานที่สืบสายเลือด (เช่น ลูก หลานโดยให้ลำดับที่อยู่ใกล้กว่าได้สิทธ์ิรับมรดก ก่อน)
第二順序 父母
 ทายาทอันดับที่ 2 พ่อแม่
第三順序 兄弟姐妹
ทายาทอันดับที่ 3 พี่น้อง
第四順序 祖父母
ทายาทอันดับที่ 4 ปู่ย่า
如無先順序繼承人,才會由後順序繼承人繼承。
หากไม่มีทายาทอันดับข้างต้น บุคคลที่มีสิทธิ์ได้รับมรดกคือทายาทในอันดับต่อไป
在沒有遺囑,且無人拋棄繼承的狀況下,配偶之應繼分:
หากไม่มีหนังสือพินัยกรรม และไม่มีผู้สละสิทธิ์ในการรับมรดก คู่สมรสมีส่วนได้รับส่วนแบ่งในกองมรดก:
與第一順序之繼承人同為繼承時,其應繼分與他繼承人平均。
หากรับมรดกร่วมกับทายาทอันดับที่ 1 คู่สมรสได้ส่วนแบ่งในกองมรดกเท่าเทียมกับทายาทคนอื่น
與第二順序或第三順序之繼承人同為繼承時,其應繼分為遺產二分之一。
หากรับมรดกร่วมกับทายาทอันดับที่ 2 และอันดับที่ 3 คู่สมรสจะได้ส่วนแบ่งครึ่งหนึ่งของกองมรดก
與第四順序之繼承人同為繼承時,其應繼分為遺產三分之二。
หากรับมรดกร่วมกับทายาทอันดับที่ 4 คู่สมรสจะได้ส่วนแบ่ง 2 ใน 3 ของกองมรดก
無第一順序至第四順序之繼承人時,其應繼分為遺產全部。
หากไม่มีทายาทตั้งแต่อันดับที่ 1 ถึงอันดับที่ 4 คู่สมรสมีสิทธ์ิไดรั้บมรดกทั้งหมด
 

4. 聽說在取得中華民國身分證之前,外國人可能不能繼承取得不動產?
ได้ยินมาว่าหากยังไม่มีบัตรประชาชนไต้หวัน คนต่างชาติอาจไม่สามารถรับมรดกที่เป็นอสังริมทรัพย์ได้ใช่หรื อไม่?
土地法第17 條第1 項規定的土地,不能移轉外國人,如因繼承或遺贈取得,要在3 年內出售給本國人。
ตามบัญญัติในกฎหมายที่ดิน มาตรา 17 วรรค 1 ห้ามไม่ให้โอนที่ดินให้กับคนต่างชาติ หากเป็นที่ดินที่ได้จากการแบ่งมรดกหรือการยกทรัพย์สินให้ ต้องขายที่ดินนั้นให้แก่คนไต้หวันภายใน 3 ปี
1. 下列土地不得移轉、設定負擔或租賃於外國人:(1)林地。(2)漁地。(3)狩獵地。(4)鹽地。(5)礦地。(6)水源地。(7)要塞軍備區域及領域邊境之土地。但不包括因繼承而取得土地。但應於辦理繼承登記完畢之日起3 年內出售與本國人(如是新加坡人因繼承或遺贈取得,應於5 年內出售給本國人),逾期未出售者,由直轄市、縣(市)地政機關移請國有財產署辦理公開標售。
ห้ามไม่ให้โอนกรรมสิทธิ์ แต่งตั้งให้เป็นผู้รับผิดชอบหรือให้เช่าที่ดินในพื้นที่ต่อไปนี้แก่คนตา่ งช าติ: (1)เขตป่าไม้ (2)เขตประมง (3)เขตล่าสัตว์ (4)นาเกลือ (5)เหมืองแร่ (6)แหล่งน้ำ (7)พื้นที่เขตค่ายทหารหรือเขตชายแดน แต่ไม่รวมที่ดินที่ได้มาเพราะการรับมรดก แต่ต้องขายต่อให้แก่คนไต้หวันหลังแจ้งจดทะเบียนรับมรดกแล้วภายใ น 3 ปี (หากผู้รับมรดกเป็นคนสิงคโปร์ ต้องขายที่ดินนั้นให้คนไต้หวันภายใน 5 ปี) หากเกินกำหนดแล้วยังไม่ได้ทำการขายที่ดินนั้น ให้หน่วยงานที่ดินประจำนคร เขต(เมือง) ทำเรื่องขอให้สำนักงานทรัพย์แผ่นดินทำการประมูลขายที่ดินนั้น
2. 外國人申請在我國取得或設定土地權利時,應符合平等互惠原則,並依土地法、外國人在我國取得土地權利作業要點及相關規定辦理。
เมื่อคนต่างชาติยื่นคำร้องขอรับหรือขอมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน จะต้องมีคุณสมบัติตามหลักปฏิบัติต่างตอบแทนอย่างเสมอภาคระหว่าง ประเทศ พร้อมต้องดำเนินการตามที่บทบัญญัติของกฎหมายที่ดิน ระเบียบการปฏิบัติงานการมีกรรมสิทธ์ิในที่ดินของคนต่างชาติและข้อ กำหนดอื่นที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้

5. 如果配偶死亡不辦理繼承登記,是否有罰則規定?
หากคู่สมรสเสียชีวิตแล้วไม่ดำเนินการจดทะเบียนรับมรดก ตามกฎหมายจะมีบทลงโทษหรือไม่?
有。
繼承登記得自繼承開始之日起,6 個月內為之。聲請逾期者,每逾1 個月得處應納登記費額1 倍之罰鍰。但最高不得超過20 倍。(土地法第73 條)
มี
การจดทะเบียนรับมรดกต้องจดทะเบียนภายใน 6 เดือนนับตั้งแต่วันที่เริ่มรับมรดก สำหรับผู้ที่ยื่นขอจดทะเบียนเกินกว่าเวลาที่กำหนด จะต้องเสียค่าปรับเป็นเงินเท่ากับค่าจดทะเบียนหนึ่งเท่าต่อการแจ้งจดทะเ บียนล่าช้าหนึ่งเดือน แต่มีค่าปรับสูงสุดไม่เกิน 20 เท่า (กฎหมายที่ดิน มาตรา 73)

6. 其他繼承人不願意配合辦理繼承,可以單獨申請嗎?
หากทายาทอื่นที่ได้รับมรดกไม่ให้ความร่วมมือในการดำเนินกา รขอรับมรดก สามารถยื่นคำร้องขอรับเพียงคนเดียวได้หรือไม่?
可以。
繼承人為2 人以上,部分繼承人因故不能會同其他繼承人共同申請繼承登記時,得由其中1 人或數人為全體繼承人之利益,就被繼承人之土地申請為公同共有之登記。(土地登記規則第120 條第1 項前段)
ได้
เมื่อมีทายาทที่ได้รับมรดกตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หากทายาทบางคนมีเหตุที่ทำให้ไม่สามารถยื่นจดทะเบียนรับมรดกร่วมกั บทายาทรายอื่นได้ เพื่อสิทธิประโยชน์ของทายาทคนใดคนหนึ่งหรือของทายาททั้งหมด ให้ยื่นคำร้องขอจดทะเบียนที่ดินที่ได้จากเจ้าของมรดกนั้นให้เป็นที่ดินกร รมสิทธิ์ร่วมกัน (ระเบียบการจดทะเบียนที่ดิน มาตรา 120 วรรค 1 ช่วงแรก)

7. 要把房屋土地過戶給外籍配偶,應如何辦理?
หากต้องการโอนบ้านและที่ดินให้แก่คู่สมรสชาวต่างชาติ ต้องทำอย่างไร?
首先查明外籍配偶之國籍是否符合土地法第18 條平等互惠國家。
ก่อนอื่นต้องตรวจสอบว่าประเทศของคู่สมรสชาวต่างชาตินั้นต้องเป็นประเ ทศที่ปฏิบัติต่างตอบแทนอย่างเสมอภาคกับไต้หวัน ตามที่กฎหมายที่ดิน มาตรา 18 บัญญัติ
I. 目前泰國、菲律賓可取得設定不動產權利,新加坡人允許在我國取得高逾6 樓(含)以上之建築物之任何一層作為住宅使用,並准其取得基地所有權或地上權。
ปัจจุบันประเทศไทยและฟิลิปปินส์สามารถขอมีกรรมสิทธิ์ในอสังห าริมทรัพย์ได้ สำหรับคนสิงคโปร์อนุญาตให้มีกรรมสิทธ์ิในชั้นใดชั้นหนึ่งของสิ่ง ปลูกสร้างที่มีความสูงเกิน(รวม) 6 นขึ้นไปในไต้หวันเพื่อใช้เป็นบ้านอยู่อาศัย และอนุญาตให้ถือกรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดินหรือกรรมสิทธิ์บนที่ดินข องอาคารนั้นได้
II. 其他國家請參考「外國人在我國取得或設定土地權利互惠國家一覽表」,或提出「互惠證明文件」來辦理,即申請人之本國(或其行政區)有關機關所出具載明該國(或其行政區)對我國人民得取得同樣權利之證明文件;並經我國駐外使領館、代表處、辦事處及其他外交部授權機構驗證者。
สำหรับประเทศอื่นกรุณาตรวจสอบที่ “ตารางรายชื่อประเทศที่ได้หรือมีกรรมสิทธิ์ที่ดินสำหรับคนต่างชา ติในไต้หวันตามหลักปฏิบัติต่างตอบแทน” หรือยื่นดำเนินการขอ “เอกสารหลักฐานการปฏิบัติต่างตอบแทนอย่างเสมอภาคระหว่าง ประเทศ” และหลักฐานแสดงว่าคนไต้หวันได้รับสิทธิประโยชน์ในประเทศนั้ น (หรือเขตการปกครองนั้น) เช่นเดียวกัน ที่ออกโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเทศ (หรือเขตการปกครอง) ของบุคคลที่ยื่นคำร้องขอรับมรดก พร้อมผ่านการรับรองเอกสารจากสถานทูต ตัวแทน สำนักงานหรือหน่วยงานอื่นที่ได้รับอำนาจจากกระทรวงการต่าง ประเทศไต้หวัน
辦理程序:外國人依相關規定取得土地權利,應檢送下列文件,向土地所在地地政事務所申請,再由該地政事務所逕送請該管直轄市或縣(市)政府核准:
ขั้นตอนการดำเนินการ:
คนต่างชาติที่ได้กรรมสิทธิ์ที่ดินตามที่กฏหมายที่เกี่ยวข้องกำหนด ต้องดำเนินการยื่นคำร้องพร้อมแนบเอกสารต่อไปนี้ ต่อสำนักงานที่ดินในเขตพื้นที่ที่ที่ดินนั้นตั้งอยู่ แล้วสำนักงานที่ดินนั้นจะเป็นผู้ส่งเรื่องต่อเพื่อขออนุมัติจากเทศบาลนคร หรือเขต (เมือง) นั้น:
(1). 土地登記申請書。
หนังสือคำร้องขอจดทะเบียนที่ดิน
(2). 登記原因證明文件:如買賣契約書、贈與契約書等等。
หลักฐานแสดงเหตุผลในการจดทะเบียน: เช่นหนังสือสัญญาซื้อขาย หนังสือสัญญายกทรัพย์สินให้เป็นต้น
(3). 土地所有權狀。
โฉนดที่ดิน
(4). 土地權利變更之權利人及義務人身分證明文件。
หลักฐานแสดงตนของเจ้าของกรรมสิทธิ์และผู้ที่เกี่ยวข้องในการขอเ ปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ที่ดิน
(5). 繳稅或免稅證明文件(如土地增值稅或契稅、贈與稅繳清或免稅證明書)。
หลักฐานแสดงการเสียภาษีหรือยกเว้นภาษี (เช่น ภาษีที่ดินมูลค่าเพิ่มหรือภาษีโฉนดที่ดิน หลักฐานแสดงว่าไม่ติดค้างหรือได้รับยกเว้นเงินภาษีการยกทรัพย์สิ นให้)
(6). 土地使用分區證明(如屬非都市土地者免檢附)。
หลักฐานแบ่งขอบเขตการใช้งานที่ดิน (หากไม่ใช่ที่ดินในเขตเมืองไม่ต้องแสดง)
(7). 授權書(如本人不能親自申請,須加附授權書)。
หนังสือมอบอำนาจ (หากเจ้าตัวไม่สามารถมาดำเนินการด้วยตนเ อง ต้องทำหนังสือมอบอำนาจแนบมาด้วย)
(8). 其他經中央地政機關規定應提出之證明文件。
หลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่กรมที่ดินส่วนกลางกำหนด

瀏覽人數:242人 更新日期:2021/03/30